คาดหมายสภาพอากาศ ระหว่างวันที 9 - 15 กันยายน 2562
9 ก.ย. 2562
121
65
คาดหมายสภาพอากาศ ระหว่างวันที 9 - 15 กันยายน 2562
คาดหมายสภาพอากาศ ระหว่างวันที 9 - 15 กันยายน 2562

คาดหมายสภาพอากาศ 7 วัน ข้างหน้า ระหว่างวันที่ 9 – 15 กันยายน 2562 ช่วงวันที่ 9 - 11 ก.ย. 2562 ประเทศไทยมีปริมาณฝนลดลง ส าหรับคลื่นลมบริเวณทะเลอันดามันตอนบน และ อ่าวไทยตอนบน มีคลื่นสูง 1-2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองทะเลมีคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร  ช่วงวันที่ 12 - 15 ก.ย. 2562 ประเทศไทยมีฝนเพิ่มขึ้น กับมีฝนตกหนักบางแห่ง ส าหรับคลื่นลมบริเวณ ทะเลอันดามัน และอ่าวไทยตอนบน มีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองทะเลมีคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร ข้อควรระมัดระวัง ช่วงวันที่ 11 - 15 ก.ย. ขอให้ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัยบริเวณภาคเหนือ และ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระวังอันตรายจากฝนตกหนัก และฝนที่ตกสะสม ซึ่งอาจท้าให้เกิดน้้าท่วมฉับพลัน และน้้าป่าไหลหลากได้ ส้าหรับชาวเรือบริเวณทะเลอันดามัน และอ่าวไทยตอนบน ควรเพิ่มความระมัดระวังในการเดินเรือ บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนอง ลักษณะส้าคัญทางอุตุนิยมวิทยา ช่วงวันที่ 9 - 11 ก.ย. 2562 ร่องมรสุมพาดผ่านประเทศเมียนมา และประเทศเวียดนามตอนบน ในขณะที่มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทยมีก าลังอ่อน ลักษณะเช่นนี้ ท าให้ประเทศไทยมีฝนลดลง ส าหรับคลื่นลมบริเวณทะเลอันดามันตอนบน และอ่าวไทยตอนบนมีก าลังอ่อนลง  ช่วงวันที่ 12 - 15 ก.ย. 2562 ร่องมรสุมจะเลื่อนลงมาพาดผ่านภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบกับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทยจะมีก าลังแรงขึ้น ท าให้ ประเทศไทยมีฝนเพิ่มขึ้น และมีฝนตกหนักบางแห่ง ส าหรับคลื่นลมบริเวณทะเลอันดามัน และอ่าวไทยตอนบน มีก าลังปานกลาง พยากรณ์อากาศ 7 วันข้างหน้ารายภาค ภาคเหนือ ช่วงวันที่ 9 - 10 ก.ย. 2562 มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 30-40 ของพื้นที่ ช่วงวันที่ 11-15 ก.ย. 2562 มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 60-70 ของพื้นที่ กับมีฝนตกหนักบางแห่ง อุณหภูมิต่ าสุด 23-26 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 31-34 องศาเซลเซียส ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเรว็ 10-25 กม./ชม. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ช่วงวันที่ 9 - 10 ก.ย. 2562 มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 30-40 ของพื้นที่ ช่วงวันที่ 11 - 15 ก.ย. 2562 มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 60-70 ของพื้นที่  กับมีฝนตกหนักบางแห่ง ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 10-25 กม./ชม.  อุณหภูมิต่ าสุด 24-26 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 31-35 องศาเซลเซียส ภาคกลาง ช่วงวันที่ 9 - 12 ก.ย. 2562 มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 30-40 ของพื้นที่ ช่วงวันที่ 13 - 15 ก.ย. 2562 มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 40-60 ของพื้นที่  กับมีฝนตกหนักบางแห่ง อุณหภูมิต่ าสุด 24-26 องศาเซลเซียส  อุณหภูมิสูงสุด 32-35 องศาเซลเซียส ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 10-25 กม./ชม. 

 

 

 ๒ ภาคตะวันออก ช่วงวันที่ 10 - 12 ก.ย. 2562 มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 30-40 ของพื้นที่ ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูง 1- 2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร ช่วงวันที่ 13 - 15 ก.ย. 2562 มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 40-60 ของพื้นที่  กับมีฝนตกหนักบางแห่ง ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 20-35 กม./ชม.  ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสูงมากกว่า 2 เมตร อุณหภูมิต่ าสุด 24-27 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 30-34 องศาเซลเซียส ภาคใต้ (ฝั่งตะวันออก) ช่วงวันที่ 10 - 12 ก.ย. 2562 มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 30-40 ของพื้นที่ ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-30 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 1 เมตร  ห่างฝั่งคลื่นสูง 1 - 2 เมตร ช่วงวันที่ 13 - 15 ก.ย. 2562 มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 40-60 ของพื้นที่ ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูง 1-2 เมตร   ห่างฝั่งคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร อุณหภูมิต่ าสุด 23-26 องศาเซลเซียส  อุณหภูมิสูงสุด 31-36 องศาเซลเซียส ภาคใต้ (ฝั่งตะวันตก) ช่วงวันที่ 10 - 12 ก.ย. 2562 มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 40-60 ของพื้นที่ ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเรว็ 15-35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูง 1- 2 เมตร  บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสงูมากกว่า 2 เมตร ช่วงวันที่ 13 - 15 ก.ย. 2562 มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 60-70 ของพื้นที่ กับมีฝนตกหนักบางแห่ง ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเรว็ 20-35 กม./ชม. ทะเลมีคลื่นสูงประมาณ 2 เมตร  บริเวณที่มีฝนฟ้าคะนองคลื่นสงูมากกว่า 2 เมตร อุณหภูมิต่ าสดุ 23-25 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 30-35 องศาเซลเซียส กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ช่วงวันที่ 10 - 12 ก.ย. 2562 มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 30-40 ของพื้นที่ ช่วงวันที่ 13 - 15 ก.ย. 2562 มีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ 40-60 ของพื้นที่ อุณหภูมิต่ าสุด 24-26 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 32-35 องศาเซลเซียส ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 10-25 กม./ชม. คาดการณ์น้้าท่วมและน้้าป่าไหลหลาก ระหว่างวันที่ 9 – 11 กันยายน 2562 โดยกรมพัฒนาที่ดิน จากการวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านอุตุนิยมวิทยา อุทกวิทยา สภาพภูมิประเทศ ด้านการเกษตร และ ธรณีวิทยา ได้ด าเนินการใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยให้ประชาชนระมัดระวังอันตรายจากฝนตกหนักถึง หนักมาก ปริมาณฝนที่ตกสะสมและปริมาณน้ าที่ไหลมาจากทางต้นน้ าที่จะท าให้เกิดน้ าท่วมฉับพลัน น้ าปาาไหลหลาก น้ าระบายไม่ทัน และน้ าล้นตลิ่ง  พื้นที่เฝ้าระวังบริเวณจังหวัด ดังนี้ ภาคใต้ นราธิวาส พังงา ระนอง และ สุราษฏร์ธานี 

ตกลง