แผนพัฒนาการเกษตร ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564)
22 ก.พ. 2561
388
384

 

                  กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้จัดทำแผนพัฒนำกำรเกษตร ในช่วงแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ซึ่งเป็นภำรกิจตำม พระรำชบัญญัติเศรษฐกิจกำรเกษตร พ.ศ. 2522 โดยมีกำรระดมควำมคิดเห็นจำกผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งภำครัฐ ภำคเอกชน ภำคประชำสังคม เกษตรกร สถำบันกำรศึกษำ ผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งในส่วนกลำงและภูมิภำค และ เม่ือวันที่ 22 กรกฎำคม 2559 คณะกรรมกำรนโยบำยและแผนพัฒนำกำรเกษตรและสหกรณ์ ซึ่งมี รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นประธำน ผู้แทนกระทรวงที่เกี่ยวข้อง ผู้บริหำรระดับสูงของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนเกษตรกรและสถำบันเกษตรกร เป็นกรรมกำร ได้ให้ ควำมเห็นชอบต่อแผนพัฒนำกำรเกษตร ในช่วงแผนพัฒนำฯ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) 

                 แผนพัฒนำกำรเกษตร ในช่วงแผนพัฒนำฯ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) เป็นส่วนหนึ่งของ แผนยุทธศำสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ถือเป็นกรอบแนวทำงส ำคัญ ในกำรขับเคลื่อนกำรพัฒนำภำคกำรเกษตรในระยะ 5 ปีแรก (พ.ศ. 2560 - 2564) ที่สอดคล้องกับ ยุทธศำสตร์ชำติ 20 ปี แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) และ นโยบำยรัฐบำล ภำยใต้วิสัยทัศน์ “ภำคเกษตรก้ำวไกลด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ตลำดน ำกำรผลิต  ชีวติเกษตรกรมีคุณภำพ ทรัพยำกรกำรเกษตรมีควำมสมดุลและยั่งยืน” ครอบคลุมกำรพัฒนำภำคกำรเกษตร ใน 5 ด้ำน ประกอบด้วย กำรสร้ำงควำมเข้มแข็งให้เกษตรกรและสถำบันเกษตรกร กำรเพิ่มประสิทธิภำพ กำรบริหำรจัดกำรสินค้ำเกษตรตลอดโซ่อุปทำน กำรเพิ่มควำมสำมำรถในกำรแข่งขันด้วยเทคโนโลยีและ นวัตกรรม กำรบริหำรจัดกำรทรัพยำกรกำรเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่ำงสมดุลและยั่งยืน และกำรพัฒนำ ระบบบริหำรจัดกำรภำครัฐ โดยมีกระบวนกำรขับเคลื่อนแผนไปสู่กำรปฏิบัติ ผ่ำนกลไกขับเคลื่อนในระดับ นโยบำย ยุทธศำสตร์ และหน่วยปฏิบัติ ที่จะช่วยก ำกับให้ทุกหน่วยงำนจัดท ำแผนงำน / โครงกำรส ำคัญ  ที่สอดคล้องกับแนวทำงกำรพัฒนำ ภำยใต้แผนพัฒนำกำรเกษตร ในช่วงแผนพัฒนำฯ ฉบับที่ 12  (พ.ศ. 2560 - 2564) รวมทั้งติดตำมประเมินผลกำรปฏิบัติงำนตำมแผนงำน / โครงกำรส ำคัญดังกล่ำวให้ บรรลุผลสัมฤทธิ์ ซึ่งจะเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยขับเคลื่อนกำรพัฒนำประเทศสู่ควำมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ได้ใน ท้ำยที่สุด

 

                                            สรุปสาระสำคัญ แผนพัฒนาการเกษตร  ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) 

                    ภาคการเกษตรของไทยเป็นตัวขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจที่ส าคัญของประเทศ เป็นรากฐาน ของการสร้างความมั่นคงทางอาหารของประเทศและของโลก ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศอยู่ในภาคการผลิต ทางการเกษตร เมื่อพิจารณาอัตราการเจริญเติบโตของภาคเกษตรในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 พบว่า ผลิตภัณฑม์วลรวมภาคเกษตรขยายตัวเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 3.94 ต่อปี และในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 - 11 อัตราการเติบโตของภาคเกษตร มีแนวโน้มชะลอตัวลงเรื่อยๆ จนกระทั่งในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 111 ภาคการเกษตรขยายตัวเพียงร้อยละ 0.10 ต่อปี เนื่องจากได้รับผลกระทบจากความแปรปรวนของ สภาพภูมอิากาศ และภัยธรรมชาติที่ค่อนขา้งรุนแรง อย่างไรก็ตาม ภาคเกษตรยังคงมีบทบาทส าคัญกับ การพัฒนาประเทศในหลายมิติ เนื่องจากการส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์สามารถสร้างรายได้ที่เป็น เงินตราต่างประเทศเป็นมูลค่าสูงในแต่ละปี และเม่ือพิจารณาสัดส่วนมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตรต่อ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (ณ ราคาประจ าปี) พบว่า มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 มีสัดส่วนเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 11.05 เพิ่มขึ้นจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 ซึ่งมีสัดส่วนเฉลี่ย ร้อยละ 8.98 ทั้งนี้ การพัฒนาภาคเกษตรในอนาคตต้องเผชิญกับบริบทการเปลี่ยนแปลงจาก ความเปราะบางหรือความผันผวนของเศรษฐกิจโลกที่จะส่งผลกระทบต่อภาคการเกษตรของประเทศ รวมถึงกฎกติกาการค้าใหม่ของโลก การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมภิาคต่างๆ ของโลก ปัญหาภายในประเทศ บางประการที่เป็นข้อจ ากัดส าคัญต่อการพัฒนาการเกษตรของประเทศ แนวโน้มการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ความมั่นคงด้านอาหารและพลังงาน รวมถึง การเปลี่ยนแปลงภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม การเมือง และการพัฒนาในระดับภูมิภาค ต่างๆ จ าเป็นต้องมีการเตรียมการเพื่อรับมอืกับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ 

                           การกำหนดกรอบแนวคิดและทิศทางการพัฒนาของแผนพัฒนาการเกษตร ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ได้เน้นความต่อเนื่องกับแผนที่ผ่านมา โดยให้ความส าคัญกับการพัฒนา เกษตรกรใหเ้ป็นศูนย์กลางการพัฒนาอย่างสมดุล มีการรวมกลุ่มเป็นสถาบันเกษตรกรในชุมชนต่าง ๆ เพื่อผลักดัน ให้สามารถด าเนินงานในรูปของธุรกิจเกษตรที่สามารถพึ่งพาตนเองได้ โดยน้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ มาขยายผลและประยุกต์ใช้อย่างต่อเนื่อง การพัฒนาการเกษตรในระยะต่อไป ถือเป็นก้าวส าคัญของการพัฒนาประเทศจากวิถีการท าเกษตรแบบดั้งเดิม ไปสู่การบริหารจัดการการเกษตรแบบสมัยใหม่ โดยอาศัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาสนับสนุนการผลิต สินค้าเกษตร ซึ่งถือเป็นการขับเคลื่อนในช่วง 5 ปีแรก (พ.ศ. 2560 – 2564) ของยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 - 2579) ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหง่ชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) และการพัฒนาประเทศภายใต้นโยบายไทยแลนด์ 4.0 

 ดังนั้น การพัฒนาการเกษตรภายใต้แผนพัฒนาการเกษตร ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) จะเป็นช่วงเปลี่ยนผ่านที่ส าคัญในระยะ 5 ปีแรก ของยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) โดยมีการก าหนดวิสัยทัศน์และเป้าหมาย ดังนี้ 

วิสัยทัศน์ คือ “ภาคเกษตรก้าวไกลด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ตลาดน าการผลิต ชีวติเกษตรกรมีคุณภาพ ทรัพยากรการเกษตรมีความสมดุลและยั่งยืน” เป้าหมาย ๑.  ความผาสุกของเกษตรกรเพิ่มขึน้อยู่ที่ระดับ 85 ในปี ๒๕64 ๒.  เกษตรกรมีรายได้เงนิสดสุทธิทางการเกษตรเพิ่มขึน้เป็น 59,460 บาทต่อครัวเรอืน ในปี 2564  3.  เศรษฐกิจภาคเกษตรเติบโตเฉลี่ยร้อยละ ๓ ต่อปี 4.  จ านวนงานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านการเกษตรถูกน าไปใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นอย่างน้อย    ร้อยละ 5 ต่อปี 5.  ทรัพยากรการเกษตรได้รับการฟื้นฟูและใช้ประโยชน์อย่างสมดุลและยั่งยืน 

การด าเนินงานตามแผนพัฒนาการเกษตร ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) จะสามารถบรรลุเป้าหมายได้ โดยมีการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา ดังนี ้ ยุทธศาสตร์ท่ ี1  สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร เพื่อให้เกษตรกร พึ่งพาตนเองได้ มีความมั่นคงและภาคภูมิใจในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม รวมทั้งพัฒนาศักยภาพของ เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบธุรกิจเกษตร บนพื้นฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ต่อเนื่องมาตั้งแต่แผนพัฒนาการเกษตร ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 – 10 โดยเน้นการขยายผลการท า การเกษตรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เสริมสร้างความภาคภูมิใจและความมั่นคงในการประกอบ อาชีพเกษตรกรรมด้วยการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่เข้าสู่ภาคการเกษตร สร้างระบบสวัสดิการและ ด าเนินการปรับโครงสร้างหนี้สินให้กับเกษตรกร ส่งเสริมการท าเกษตรกรรมยั่งยืนให้เห็นผลในทางปฏิบัติ โดยเฉพาะการท าเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรอินทรีย์ ซึ่งจะช่วยเพิ่มรายได้ให้กับ เกษตรกร รวมทั้งส่งเสริมการพัฒนาองค์ความรู้ของเกษตรกรสู่เกษตรกรมืออาชีพให้สามารถบริหาร จัดการฟาร์มแบบครบวงจรตั้งแต่การผลิต แปรรูป และการตลาด ตลอดจนสร้างการรวมกลุ่มเกษตรกร ใหเ้ข้มแข็งและสามารถเชื่อมโยงเครอืข่ายของเกษตรกร และสถาบันเกษตรกรได้อย่างมีประสิทธิภาพ 

ยุทธศาสตร์ท่ี 2  เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอดโซ่อุปทาน เพื่อลดต้นทุนการผลิตและสร้างโอกาสในการแข่งขันของสินค้าเกษตร ใช้การตลาดน าการผลิตด้วย การส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ มีการบริหารจัดการร่วมกันระหว่างภาครัฐเกษตรกร กับภาคเอกชน เพื่อให้สินค้าเกษตรได้มาตรฐานรองรับความต้องการของตลาด ส่งเสริม การบริหารจัดการโซ่อุปทานสินค้าเกษตร สนับสนุนการจัดการองค์ความรู้ด้านโลจิสติกส์สินค้าเกษตร และโซ่อุปทานให้กับเกษตรกร สถาบันเกษตรกร และผู้ประกอบการธุรกิจเกษตรส่งเสริมการเพิ่มมูลค่า สินค้าเกษตรโดยน าภูมิปัญญาท้องถิ่นมาสร้างเร่ืองราว (Story) ให้กับสินค้าเกษตรและชุมชน เพื่อเป็น จุดขาย สร้างความเป็นเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ของสินค้าเกษตร สนับสนุนการจัดตั้งศูนย์กลางและพัฒนา ระบบตลาดสินค้าเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารอย่างยั่งยืน ตลอดจนสนับสนุนการจัดการ ความเสี่ยงที่จะกระทบต่อพืชผลทางการเกษตร การด าเนินงานดังกล่าวควรให้ความส าคัญกับการสนับสนุน ความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน กับเกษตรกร รวมถึงส่งเสริมการค้าชายแดน การพัฒนาเขตเศรษฐกิจ พิเศษ และความร่วมมือระหว่างประเทศ ซึ่งจะเป็นส่วนสนับสนุนและสร้างผลประโยชน์ร่วมกัน ในการพัฒนาระดับภูมภิาค  

 ยุทธศาสตร์ท่ี 3  เพิ่มความสามารถในการแข่งขันภาคการเกษตรด้วยเทคโนโลยีและ นวัตกรรม เพื่อพัฒนาการเกษตรของประเทศให้มีศักยภาพ ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยส่งเสริม และสนับสนุนการวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านการเกษตรอย่างต่อเนื่อง มุ่งเน้นความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐกับภาคเอกชนในการลงทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนา โดยก าหนดกรอบงานวิจัยและสร้างนวัตกรรม ให้สอดคล้องกับความต้องการของพื้นที่ พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศการเกษตร และสร้างการเช่ือมโยง ของข้อมูลอย่างเป็นระบบ รวมถึงส่งเสริมการน างานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมมาใช้ประโยชน์  เน้นการเข้าถึงเทคโนโลยีการเกษตรของเกษตรกรรายย่อยและกลุ่มเกษตรกร เพื่อช่วยขับเคลื่อน การพัฒนาภาคการเกษตรใหส้อดคล้องกับการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน 

 ยุทธศาสตร์ท่ี 4  การบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุล และยั่งยืน เป็นประเด็นส าคัญของการพัฒนาภาคเกษตรบนพืน้ฐานการบริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรที่มี อยู่อย่างจ ากัด โดยเน้นการฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรการเกษตรใหค้งความหลากหลายทางชีวภาพ สนับสนุน กิจกรรมเกษตรเชิงอนุรักษ์เพื่อคงความสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติ ส่งเสริมการเกษตรที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม บริหารจัดการทรัพยากรน้ า และพื้นที่ท ากินทางการเกษตร และสร้างภูมิคุ้มกันทางการเกษตร ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิากาศ 

 ยุทธศาสตร์ท่ ี5  พัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ เป็นการปรับกระบวนการท างานภายใน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน พัฒนาบุคลากรภาครัฐ และกระบวนการ ท างานอย่างต่อเนื่องให้เป็นองค์กรที่มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ตามหลักธรรมาภิบาล รวมทั้งพัฒนา กฏหมายใหม่ และปรับปรุงกฎหมายที่มีอยู่เดิมให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม ที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ จะช่วยให้เกิดความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน และ เป็นการเตรียมความพร้อมขององค์กรให้สามารถปรับตัวและท างานในลักษณะบูรณาการร่วมกับหน่วยงาน ภายนอกได้อย่างมีประสิทธิภาพ 

             กระบวนการขับเคลื่อนแผนไปสู่การปฏิบัติ เป็นกลไกส าคัญของการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ โดยมีแผนงาน / โครงการส าคัญภายใต้แต่ละยุทธศาสตร์ส าหรับเป็นกลไกขับเคลื่อนเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย การพัฒนาในระยะ 5 ปีแรก ซึ่งถือเป็นการพัฒนาก้าวส าคัญที่เชื่อมต่อกับการพัฒนาประเทศภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)  ดังนั้น หน่วยงานปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับภาคการเกษตร จ าเป็นต้องน าแผนงาน / โครงการไปสู่การปฏิบัติเพื่อใหเ้กิดผลอย่างเป็นรูปธรรม 

ตกลง