แจ้งเตือนเรื่อง “ผเีสื้อมวนหวาน (Fruit Piercing Moths)”
6 ส.ค. 2561
228
194

แจ้งเตือนเรื่อง “ผเีสื้อมวนหวาน (Fruit Piercing Moths)” 

 

 เตือนเกษตรกรชาวสวนผลไม้ทุกภาคของประเทศไทย เฝ้าระวังติดตามสถานการณ์ผีเสื้อมวนหวานอย่างต่อเนื่อง จากประวัติการระบาดของผีเสื้อมวนหวานที่ผ่านมาพบเข้าท าลายสวนผลไม้ในช่วงนี้ ซึ่งเป็นช่วงที่มีผลไม้ก าลังสุกแก่ใกล้ เก็บเกี่ยว และสามารถเข้าท าลายผลไม้เศรษฐกิจส าคัญหลายชนิด เช่น เงาะ ล าไย ลองกอง มังคุด ส้ม ส้มโอ โดยดูด กินน้ าหวานในผลไม้สุกเป็นอาหาร โดยผลที่ถูกผีเสื้อเจาะท าลายมักมีรอยเป็นวงสีน้ าตาลมีน้ าเยิ้มออกมาจากรอยเจาะ ต่อมาผลเน่าและร่วงลงดิน  ดังนั้น ขอให้เกษตรกรหมั่นส ารวจแปลงอย่างสม่ าเสมอ หากพบผีเสื้อมวนหวานหรือร่องรอยผลไม้ถูกผีเสื้อมวน หวานเข้าท าลาย ให้รีบแจ้งหรือขอค าแนะน าจากส านักงานเกษตรอ าเภอ หรือส านักงานเกษตรจังหวัด เพื่อด าเนินการหา แนวทางป้องกัน ควบคุมและก าจัดก่อนเกิดการระบาดรุนแรง ชื่อวิทยาศาสตร์ Othreis fullonia Clerck วงศ์ : Noctuidae อันดับ Lepidoptera ชื่ออื่นๆ - รูปร่างลักษณะ  ตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืนขนาดใหญ่ ปีกคู่หน้ามีสีน้ าตาลปนเทา ปีกคู่หลังมีสีเหลืองส้มขอบปีกด้านนอก สีด าและกลางปีกมีแถบสีด าคล้ายรูปพระจันทร์เสี้ยวข้างละ ๑ อัน เมื่อกางปีกทั้งสองข้าง มีขนาดประมาณ ๘.๕๐ - ๙ เซนติเมตร ท าลายผลไม้โดยใช้งวงปากที่แข็งยาวประมาณ ๒.๕ เซนติเมตร แทงเจาะทะลุผิวเปลือก และดูดกินน้ าหวาน ในผลไม้สุกเป็นอาหาร ผลที่ถูกผีเสื้อเจาะท าลายมักมีรอย เช่น ผลลองกอง เป็นวงสีน้ าตาล มีน้ าเยิ้มออกมาจากรอยเจาะ ต่อมาผลเน่าและร่วงลงดิน ตัวเต็มวัยวางไข่เป็นฟองเดี่ยวๆ บนใบพืชได้ครั้งละประมาณ ๑๐๐ ฟอง ไข่ทรงกลมสีเหลือง เขียวเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ ๑ มิลลิเมตร ระยะไข่ ๓ - ๔ วัน ที่อุณหภูมิ๒๘ - ๓๐ องศาเซลเซียส หรือสภาพอบอุ่น จากนั้น จึงฟักเป็นตัวหนอน ตัวเมียตลอดชีวิตวางไข่ ได้๗๕๐ ฟอง ตัวหนอนมีสีเขียวใสยาวประมาณ ๐.๕ เซนติเมตร หนอนมี ๗ ระยะ เมื่อหนอนโตเต็มที่จะมีสีน้ าตาลปนด า ด้านข้างของท้องปล้องที่ ๒ และ ๓ จะมีลายวงกลมสีขาวและ ส้ม นอกจากนี้ ยังมีจุดขาวแดงอมส้ม และฟ้าซึ่งเป็นจุดเล็กๆกระจายอยู่ทั่วตัวระยะหนอน ๑๒ - ๒๑ วัน หนอนจะน าใบ พืชมาห่อหุ้มตัวแล้วเข้าดักแด้อยู่ภายในระยะดักแด้ ๑๐ - ๑๒ วัน ตั้งแต่วางไข่จนถึงตัวเต็มวัยวางไข่ได้  ประมาณ ๓๐ - ๓๓ วัน ลักษณะการท าลาย   ตัวเต็มวัยใช้ปากที่แข็งแรงแทงเข้าไปในผลไม้ที่สุกแล้วดูดกินน้ าหวานจากผลไม้นั้น ท าให้ผลไม้มีรอยแผลเป็น รูเล็ก ๆ ท าให้ผลเน่าเสียและร่วงหล่นในที่สุด กรมส่งเสริมการเกษตร แนะน าวิธีการป้องกันก าจัด ดังนี้   ๑. ส ารวจแปลงอ้อยอย่างสม่ าเสมออย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง   ๒. ใช้กับดักแสงไฟจากหลอดแบล็คไลท์ (Black Light ) ในช่วงเวลาที่เหมาะสม ๒๐.๐๐ - ๒๒.๐๐ น.เป็นช่วงที่ ตัวเต็มวัยออกหากินมากที่สุด ควรวางกับดักสูงจากพื้น ๑.๒ เมตร ใต้หลอดไฟวางทาน้ ามันหรือถาดบรรจุน้ าผงซักฟอก ให้ตัวแก่บินมาเล่นไฟตกลงมาจมน้ าตาย  ๓. ใช้เหยื่อพิษ โดยเหยื่อล่อเป็นสับปะรดสุก ขนาดชิ้นหนา ๑ นิ้ว ชุบสารเคมี คาร์บาริล ๘๕% WP อัตรา  ๕ กรัม ผสมน้ า ๑ ลิตร แขวนเป็นจุดๆ ในสวน จ านวน ๑ กับดัก ต่อ ต้นไม้ผล ๕ ตน้ 

ตกลง