ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมและจัดทำแผนพัฒนาจุดเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ของจังหวัด ตามโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ฯ ปี 2563 ต.ยายแพง
14 พ.ค. 2563
58
0
ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมและจัดทำแผนพัฒนาจุดเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ของจังหวัด ตามโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ฯ ปี 2563 ต.ยายแพง
ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมและจัดทำแผนพัฒนาจุดเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ของจังหวัด
ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมและจัดทำแผนพัฒนาจุดเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ของจังหวัด ตามโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ฯ ปี 2563 ต.ยายแพง

เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2563 เวลา 09.30 น. นางสาวกัณฐชา วิญญูวิริยวงศ์ เกษตรและสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม มอบ นายวรวรรษ กระจ่างแจ่ม หัวหน้ากลุ่มสารสนเทศการเกษตร สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม พร้อมเจ้าหน้าที่ บูรณการร่วมกับสถานีพัฒนาที่ดินสมุทรสงคราม โดยนายเชฏฐรุจ จันทรแปลง ผู้อำนวยการสถานีพัฒนาที่ดินสมุทรสงคราม พร้อมเจ้าหน้าที่ เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2563 เวลา 09.30 น. นางสาวกัณฐชา วิญญูวิริยวงศ์ เกษตรและสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม มอบ นายวรวรรษ กระจ่างแจ่ม หัวหน้ากลุ่มสารสนเทศการเกษตร สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดสมุทรสงคราม พร้อมเจ้าหน้าที่ บูรณการร่วมกับสถานีพัฒนาที่ดินสมุทรสงคราม โดยนายเชฏฐรุจ จันทรแปลง ผู้อำนวยการสถานีพัฒนาที่ดินสมุทรสงคราม พร้อมเจ้าหน้าที่ ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมและจัดทำแผนพัฒนาจุดเรียนรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ของจังหวัด ตามโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ฯ ปี 2563 ของ นายบุญชู อยู่เชื้อ ต.ยายแพง อ.บางคนที จ.สมุทรสงคราม ซึ่งเป็น 1 ใน 7 จุดเรียนรู้ ที่ผ่านหลักเกณฑ์การคัดเลือกเกษตรกรที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กำหนดของจังหวัดสมุทรสงคราม โดยเป็นจุดเรียนรู้ที่สถานีพัฒนาที่ดินสมุทรสงคราม เป็นพี่เลี้ยงในการดำเนินการ จากนั้นเยี่ยมชมกิจกรรมที่ดำเนินการในแปลงเกษตร ได้แก่ การทำปุ๋ยหมัก การปลูกมะพร้าว การปลูกผักสวนครัว การปลูกองุ่นพันธุ์ปากช่อง การเลี้ยงไก่ไข่ และการทำน้ำตาลมะพร้าว โดยใช้เตาตาลที่ออกแบบเอง สามารถลดระยะเวลาในการทำน้ำตาลมะพร้าว จากปกติ 3-4 ชั่วโมง เหลือระยะเวลาเพียง 1 ชั่วโมง สำหรับผลผลิตที่จากแปลงเกษตร ส่วนหนึ่งจะเก็บไว้บริโภคและแจกจ่ายให้กับเพื่อนบ้าน ส่วนที่เหลือจะจำหน่ายให้กับคนในพื้นที่ของ นายบุญชู อยู่เชื้อ ต.ยายแพง อ.บางคนที จ.สมุทรสงคราม ซึ่งเป็น 1 ใน 7 จุดเรียนรู้ ที่ผ่านหลักเกณฑ์การคัดเลือกเกษตรกรที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กำหนดของจังหวัดสมุทรสงคราม โดยเป็นจุดเรียนรู้ที่สถานีพัฒนาที่ดินสมุทรสงคราม เป็นพี่เลี้ยงในการดำเนินการ จากนั้นเยี่ยมชมกิจกรรมที่ดำเนินการในแปลงเกษตร ได้แก่ การทำปุ๋ยหมัก การปลูกมะพร้าว การปลูกผักสวนครัว การปลูกองุ่นพันธุ์ปากช่อง การเลี้ยงไก่ไข่ และการทำน้ำตาลมะพร้าว โดยใช้เตาตาลที่ออกแบบเอง สามารถลดระยะเวลาในการทำน้ำตาลมะพร้าว จากปกติ 3-4 ชั่วโมง เหลือระยะเวลาเพียง 1 ชั่วโมง สำหรับผลผลิตที่จากแปลงเกษตร ส่วนหนึ่งจะเก็บไว้บริโภคและแจกจ่ายให้กับเพื่อนบ้าน ส่วนที่เหลือจะจำหน่ายให้กับคนในพื้นที่

ตกลง